วันจันทร์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

วิธีการคิด Blow Count

www.pkmicropile.com
สำหรับท่านเจ้าของบ้านที่ไม่ได้คุ้นเคยกับงานก่อสร้าง คงไม่คุ้นเท่าไรกับคำว่า


Blow Count  แต่ถ้าเป็นคนอยู่ในแวดวงก่อสร้างแล้วการคิด Blow Count เป็น วิธีหนึ่งที่นิยมใช้ในการประเมินกำลังกำลังรับน้ำหนักของเสาเข็ม ได้ครับ ซึงสูตรที่ใช้คิดมีหลายสูตรด้วยกัน ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างการคิด BLOW COUNT ของเสาเข็ม โรงงาน แห่งหนึ่ง

ข้อกำหนด

Pile Section (หน้าตัดเสาเข็ม) = I - Shape 0.26 x 16.50 m

Fc' (กำลังอัดของคอนกรีตที่อายุ 28 วัน) = 350 ksc

Safe Load ( น้ำหนักปลอดภัย)= 25 tons

Weight of Hammer (น้ำหนักของตุ้ม) = 4.5 tons

Height of Drop (ระยะยกของตุ้มเหนือเสาเข็ม) = 30 cm



DANISH FORMULA

Qult = eWH/(S+C)

C = (eWHL/2AE)^0.5



Qult = Ultimated Load = Safe Load x FS. -------(kg)

e = Efficiency = 0.75

W = Weight of Hammer = 4500 kg จากข้อกำหนด

H = Heigh of Drop = 30 cm จากข้อกำหนด

L = Length of Pile = 1650 cm จากข้อกำหนด

A = Cross Section Area of Pile = 484 sq.cm จากข้อกำหนด

E = Modulus of Elasticity of Concrete = 284,553 ksc

S = Settlement per Blow

FS. = Factor of Safety = 2.5



C = (eWHL/2AE)^0.5 = 0.78

Safe Load = 25,000 kg



Qult = Safe Load x FS. = 62,500 kg

S = (eWH/Qult) - C = 0.84 cm./Blow

Last 10 Blows = 8.4 cm หมายความว่า การตอกเสาเข็ม 10 ครั้งสุดท้าย เสาเข็มต้องจมไม่เกิน 8.4 ซม. จึงจะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 25 ตันนั่นเอง

สนใจ เสาเข็มเจาะ,ไมโครไพล์,เสาเข็มไมโครไพล์
ติดต่อ 099-426-9535 หมิว
www.pkmicropile.com

ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับ
Cr :By : วิศโว๊ย

http://www.tumcivil.com/engfanatic/board/gen.php?topic_id=5435&hit=1

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

เสาเข็มไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มเพื่อการต่อเติมสร้างบ้าน

ไมโครไพล์ เป็น เสาเข็มที่มีการออกแบบให้รับนั้นหนักได้ดีเครื่องที่ใช้ตอกมีขนาดหน้ากว้างเพียง 1.2 เมตร เลย สามารถเข้าไปตอกในจุดที่แคบได้ ...